- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑/๒๕๕๙ เรื่อง ประกาศรายชื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ระหว่างการถูกตรวจสอบเพิ่มเติม ครั้งที่ ๓
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒/๒๕๕๙ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพเป็นการชั่วคราว
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๓/๒๕๕๙ เรื่อง การยกเว้นการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารในพื้นที่เขตพฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๔/๒๕๕๙ เรื่อง การยกเว้นการใช้บังคับกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมสําหรับการประกอบกิจการบางประเภท
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๕/๒๕๕๙ เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๖/๒๕๕๙ เรื่อง การคัดเลือกหรือการแต่งตั้งข้าราชการตํารวจ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๗/๒๕๕๙ เรื่อง การกําหนดตําแหน่งของข้าราชการตํารวจซึ่งมีอํานาจหน้าที่ในการสอบสวน
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๘/๒๕๕๙ เรื่อง การบริหารจัดการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๙/๒๕๕๙ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๐/๒๕๕๙ เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๑/๒๕๕๙ เรื่อง การบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๓/๒๕๕๙ เรื่อง การป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดบางประการที่เป็นภยันตรายต่อความสงบเรียบร้อยหรือบ่อนทําลายระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๔/๒๕๕๙ เรื่อง คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้และการกําหนดอํานาจหน้าที่ของกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๕/๒๕๕๙ เรื่อง การผ่อนผันให้คนต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา เดินทางกลับประเทศต้นทางเพื่อร่วมงานประเพณีสงกรานต์ ประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๙
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๖/๒๕๕๙ เรื่อง การประมูลคลื่นความถี่เพื่อกิจการโทรคมนาคม
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๗/๒๕๕๙ เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๘/๒๕๕๙ เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๐/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๑๙/๒๕๕๙ เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๗/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๐/๒๕๕๙ เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๑/๒๕๕๙ เรื่อง การปฏิบัติราชการของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๒/๒๕๕๙ เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นเป็นการชั่วคราวในกรณีที่มีการยุบสภาท้องถิ่น
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๓/๒๕๕๙ เรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ของผู้อํานวยการสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๔/๒๕๕๙ เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๕/๒๕๕๙ เรื่อง ยกเลิกการห้ามบุคคลเดินทางออกนอกราชอาณาจักร
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๖/๒๕๕๙ เรื่อง การจัดหาที่ดินเพื่อใช้ในการดําเนินโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกลําน้ำสาธารณะ
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๗/๒๕๕๙ เรื่อง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนจากการจุดและปล่อยบั้งไฟ พลุ ตะไล โคมลอย โคมไฟ โคมควัน หรือวัตถุอื่นใดที่คล้ายคลึงกัน
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เรื่อง ให้จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๒๙/๒๕๕๙ เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราวในกรณีที่มีการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นเทศบาล การยกฐานะเป็นเทศบาลหรือการเปลี่ยนแปลงฐานะของเทศบาล
- คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๓๐/๒๕๕๙ เรื่อง มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนและนักศึกษา
วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๔/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายที่คุ้มครองประโยชน์สาธารณะและประชาชนโดยส่วนรวม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๕/๒๕๕๘ เรื่อง แก้ไขคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๖/๒๕๕๘ เรื่อง การกําหนดตําแหน่งเพิ่มและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๗/๒๕๕๘ เรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการบริหารองค์การค้าของสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๘/๒๕๕๘ เรื่อง การเลือกกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างในคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๙/๒๕๕๘ เรื่อง การให้ข้าราชการสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๐/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทําการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๑/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการจ าหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๒/๒๕๕๘ เรื่อง ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติอยู่ในตําแหน่งต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๓/๒๕๕๘ เรื่อง การสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๔/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๕/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๖/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการแก้ปัญหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ระหว่างการถูกตรวจสอบและการกําหนดกรอบอัตรากําลังชั่วคราว
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๗/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๘/๒๕๕๘ เรื่อง การให้กรรมการหรือคณะกรรมการตามกฎหมายบางฉบับปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๙/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งและให้เจ้าหน้าที่ของรัฐดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่อื่น
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๐/๒๕๕๘ เรื่อง ระงับการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอชื่อเป็นกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๑/๒๕๕๘ เรื่อง การกําหนดตําแหน่งเพิ่มและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๒/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแข่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในทางและการควบคุมสถานบริการหรือสถานประกอบการที่เปิดให้บริการในลักษณะที่คล้ายกับสถานบริการ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๓/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๑๙
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๔/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทําการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม เพิ่มเติม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๕/๒๕๕๘ เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๑/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๖/๒๕๕๘ เรื่อง การดําเนินการเพื่อถอด พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ออกจากยศตํารวจ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๗/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการกํากับดูแลและพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทย
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๘/๒๕๕๘ เรื่อง ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๙/๒๕๕๘ เรื่อง การเลือกกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างในคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและการดําเนินการเพื่อสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๓๐/๒๕๕๘ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๐๕/๒๕๕๗
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๔/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายที่คุ้มครองประโยชน์สาธารณะและประชาชนโดยส่วนรวม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๕/๒๕๕๘ เรื่อง แก้ไขคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๖/๒๕๕๘ เรื่อง การกําหนดตําแหน่งเพิ่มและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๗/๒๕๕๘ เรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการบริหารองค์การค้าของสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๘/๒๕๕๘ เรื่อง การเลือกกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างในคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๙/๒๕๕๘ เรื่อง การให้ข้าราชการสิ้นสุดการปฏิบัติหน้าที่
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๐/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทําการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๑/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการจ าหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๒/๒๕๕๘ เรื่อง ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติอยู่ในตําแหน่งต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๓/๒๕๕๘ เรื่อง การสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๔/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๕/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๖/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการแก้ปัญหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ระหว่างการถูกตรวจสอบและการกําหนดกรอบอัตรากําลังชั่วคราว
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๗/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๘/๒๕๕๘ เรื่อง การให้กรรมการหรือคณะกรรมการตามกฎหมายบางฉบับปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๑๙/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งและให้เจ้าหน้าที่ของรัฐดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่อื่น
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๐/๒๕๕๘ เรื่อง ระงับการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอชื่อเป็นกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๑/๒๕๕๘ เรื่อง การกําหนดตําแหน่งเพิ่มและการแต่งตั้งข้าราชการให้ดํารงตําแหน่ง
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๒/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแข่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในทางและการควบคุมสถานบริการหรือสถานประกอบการที่เปิดให้บริการในลักษณะที่คล้ายกับสถานบริการ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๓/๒๕๕๘ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๑๙
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๔/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการทําการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม เพิ่มเติม
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๕/๒๕๕๘ เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๑/๒๕๕๘
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๖/๒๕๕๘ เรื่อง การดําเนินการเพื่อถอด พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ออกจากยศตํารวจ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๗/๒๕๕๘ เรื่อง การแก้ไขปัญหาการกํากับดูแลและพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทย
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๘/๒๕๕๘ เรื่อง ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติปฏิบัติหน้าที่ต่อไป
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๒๙/๒๕๕๘ เรื่อง การเลือกกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่างในคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินและการดําเนินการเพื่อสรรหาผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ
- คำสั่ง หน.คสช.ที่ ๓๐/๒๕๕๘ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๐๕/๒๕๕๗
วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559
อำนาจหน้าที่เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย
สรุปสาระสำคัญใน คำสั่ง หน.คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘
เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ
ข้อ ๒ ในคำสั่งนี้“เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย” หมายความว่า ข้าราชการทหารซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นร้อยตรี เรือตรี หรือเรืออากาศตรี ขึ้นไป ซึ่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามคำสั่งนี้
“ผู้ช่วยเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย” หมายความว่า ข้าราชการทหารซึ่งมียศต่ำกว่าชั้นร้อยตรี เรือตรี หรือเรืออากาศตรี ลงมา ซึ่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามคำสั่งนี้
ข้อ ๓ ให้เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการกระทำอันเป็นความผิด ดังต่อไปนี้ ให้เกิดผลโดยเร็ว
.....
(๔) ความผิดอันเป็นการฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข้อ ๔ ในการดำเนินการตามข้อ ๓ ให้เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อย มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ออกคำสั่งเรียกให้บุคคลใดมารายงานตัวต่อเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยหรือมาให้ถ้อยคำหรือส่งมอบเอกสารหรือหลักฐานใดที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามข้อ ๓
(๒) จับกุมตัวบุคคลที่กระทำความผิดซึ่งหน้า และควบคุมตัวผู้ถูกจับนำส่งพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินการต่อไป
(๓) ช่วยเหลือ สนับสนุน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนกับพนักงานสอบสวนในความผิดตามข้อ ๓ ในการเข้าร่วมดังกล่าวให้ถือว่าเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(๔) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้น รวมตลอดทั้งค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ ทั้งนี้ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรว่าบุคคลซึ่งกระทำความผิดตามข้อ ๓ หลบซ่อนอยู่ หรือมีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็นความผิดหรือได้มาโดยการกระทำความผิดหรือได้ใช้หรือจะใช้ในการกระทำความผิดตามข้อ ๓ หรือซึ่งอาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้ ประกอบกับมีเหตุอันควรเชื่อว่า เนื่องจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ บุคคลนั้นจะหลบหนีไปหรือทรัพย์สินนั้นจะถูกโยกย้าย ซุกซ่อน ทำลาย หรือทำให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม
(๕) ยึดหรืออายัดทรัพย์สินที่ค้นพบตาม (๔)
(๖) กระทำการอื่นใดตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติมอบหมาย
ข้อ ๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนี้ ให้เจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยและผู้ช่วยเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ข้อ ๑๒ ผู้ใดมั่วสุม หรือชุมนุมทางการเมือง ณ ที่ใด ๆ ที่มีจำนวนตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เว้นแต่ เป็นการชุมนุมที่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง ที่สมัครใจเข้ารับการอบรมจากเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยเป็นระยะเวลาไม่เกินเจ็ดวันและเจ้าพนักงานรักษาความสงบเรียบร้อยเห็นสมควรปล่อยตัวโดยมีเงื่อนไขหรือไม่มีเงื่อนไขตามข้อ ๑๑ วรรคสอง (เงื่อนไขในการปล่อยตัว หมายถึง การกำหนดวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามมาตรา ๓๙ (๒) ถึง (๕) แห่งประมวลกฎหมายอาญา (มีดังนี้ (๒) ห้ามเข้าเขตกำหนด (๓) เรียกประกันทัณฑ์บน (๔) คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล (๕) ห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง) การห้ามเดินทางออกนอกราชอาณาจักรเว้นแต่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย หรือการสั่งระงับธุรกรรมทางการเงิน) ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามมาตรา ๓๗ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๒๙
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการปล่อยตัว ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การยกเลิกชื่อเรียกพนักงานสอบสวน
วิเคราะห์ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๕ ก.พ.๒๕๕๙
เรื่อง การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวน
จุดมุ่งหมายของคำสั่งนี้ เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปด้านการบริหารราชการแผ่นดินและกระบวนการยุติธรรม สมควรปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งของข้าราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวนเสียใหม่ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างและระบบการบังคับบัญชาของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อันจะส่งผลในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในงานการสอบสวน คำสั่งดังกล่าวจึงแก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ ไว้ดังนี้
๑. ยกเลิก ชื่อเรียกคำว่า “พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ และ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ" ไม่ให้มีปรากฏใน พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ พร้อมกับได้ยกเลิกการกำหนดตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ให้มีเฉพาะที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ไม่ให้มีต่อไป (ข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘)
๒. กำหนดให้ข้าราชการตำรวจซึ่งดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน เท่านั้น จึงจะได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามระเบียบที่ ก.ตร. กำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ส่วนในตำแหน่งอื่นจะไม่ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ (ข้อ ๔)
๓. ยกเลิกการเลื่อนตำแหน่งของพนักงานสอบสวน เป็นพนักงานสอบสวนในระดับต่าง ๆ โดยการประเมินด้วยการนำปริมาณและคุณภาพของสำนวนการสอบสวนมาประกอบการพิจารณาตามหลักเกณฑ์และวิธีการเดิมที่เคยกำหนดไว้ในระเบียบ ก.ตร. (ข้อ ๕)
๔. ผู้ใดดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ หรือพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ในส่วนราชการใดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ได้กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ให้ถือว่าผู้นั้นดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร รองผู้กำกับการ ผู้กำกับการ รองผู้บังคับการ หรือผู้บังคับการ แล้วแต่กรณี และให้ผู้เคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวยังคงปฏิบัติหน้าที่ตามอำนาจและหน้าที่เช่นเดิมไปพลางก่อน จนกว่า ก.ตร. กำหนดหรือตัดโอนตำแหน่งจากส่วนราชการหนึ่งไปเพิ่มให้อีกส่วนราชการหนึ่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่คำสั่งนี้ใช้บังคับ (ภายในวันที่ ๕ พ.ค.๒๕๕๙) ในระหว่างนี้ผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ และพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ ยังคงได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ จนกว่าการดำเนินการแต่งตั้งแล้วเสร็จ (ข้อ ๙)
๕. บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือมติของคณะรัฐมนตรีใด ที่อ้างถึงพนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ และพนักงานสอบสวน ให้ถือว่าอ้างถึงข้าราชการตำรวจซึ่งดำรงตำแหน่ง รองผู้กำกับการ สารวัตร และ รองสารวัตร ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน แล้วแต่กรณี โดยไม่อ้างถึงพนักงานสอบสวนในระดับอื่นอีก (ข้อ ๑๐)
๖. คำสั่งนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด ๑๕ วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลวันที่ ๒๐ ก.พ.๒๕๕๙)
วิเคราะห์แล้วเห็นว่า:- คำสั่งได้กำหนดไม่ให้มีชื่อเรียกว่า พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ หรือพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ อีกต่อไป และยกเลิกการประเมินเพื่อเลื่อนตำแหน่งของพนักงานสอบสวนแบบเดิม ส่วนผู้ที่ดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน จะได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ ถ้าหาก ก.ตร. กำหนดหรือตัดโอนตำแหน่ง และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติออกคำสั่งแต่งตั้งเสร็จแล้ว บรรดาบทบัญญัติต่าง ๆ ไม่มีการกล่าวถึงพนักงานสอบสวน ที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ผู้กำกับการ รองผู้บังคับการ ผู้บังคับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวนต่อไป และไม่ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษเช่นเดียวกับรองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน ดังกล่าวข้างต้น
ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
http://www.matichon.co.th/news/62131
เรื่อง การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวน
จุดมุ่งหมายของคำสั่งนี้ เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปด้านการบริหารราชการแผ่นดินและกระบวนการยุติธรรม สมควรปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งของข้าราชการตำรวจซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการสอบสวนเสียใหม่ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างและระบบการบังคับบัญชาของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อันจะส่งผลในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในงานการสอบสวน คำสั่งดังกล่าวจึงแก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ ไว้ดังนี้
๑. ยกเลิก ชื่อเรียกคำว่า “พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ และ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ" ไม่ให้มีปรากฏใน พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ พร้อมกับได้ยกเลิกการกำหนดตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ให้มีเฉพาะที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการบริหารงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ไม่ให้มีต่อไป (ข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘)
๒. กำหนดให้ข้าราชการตำรวจซึ่งดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน เท่านั้น จึงจะได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษตามระเบียบที่ ก.ตร. กำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ส่วนในตำแหน่งอื่นจะไม่ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ (ข้อ ๔)
๓. ยกเลิกการเลื่อนตำแหน่งของพนักงานสอบสวน เป็นพนักงานสอบสวนในระดับต่าง ๆ โดยการประเมินด้วยการนำปริมาณและคุณภาพของสำนวนการสอบสวนมาประกอบการพิจารณาตามหลักเกณฑ์และวิธีการเดิมที่เคยกำหนดไว้ในระเบียบ ก.ตร. (ข้อ ๕)
๔. ผู้ใดดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ หรือพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ในส่วนราชการใดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ได้กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ ให้ถือว่าผู้นั้นดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร รองผู้กำกับการ ผู้กำกับการ รองผู้บังคับการ หรือผู้บังคับการ แล้วแต่กรณี และให้ผู้เคยดำรงตำแหน่งดังกล่าวยังคงปฏิบัติหน้าที่ตามอำนาจและหน้าที่เช่นเดิมไปพลางก่อน จนกว่า ก.ตร. กำหนดหรือตัดโอนตำแหน่งจากส่วนราชการหนึ่งไปเพิ่มให้อีกส่วนราชการหนึ่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นผู้สั่งแต่งตั้ง ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่คำสั่งนี้ใช้บังคับ (ภายในวันที่ ๕ พ.ค.๒๕๕๙) ในระหว่างนี้ผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งพนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ และพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ ยังคงได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ จนกว่าการดำเนินการแต่งตั้งแล้วเสร็จ (ข้อ ๙)
๕. บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือมติของคณะรัฐมนตรีใด ที่อ้างถึงพนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ และพนักงานสอบสวน ให้ถือว่าอ้างถึงข้าราชการตำรวจซึ่งดำรงตำแหน่ง รองผู้กำกับการ สารวัตร และ รองสารวัตร ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน แล้วแต่กรณี โดยไม่อ้างถึงพนักงานสอบสวนในระดับอื่นอีก (ข้อ ๑๐)
๖. คำสั่งนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด ๑๕ วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (มีผลวันที่ ๒๐ ก.พ.๒๕๕๙)
วิเคราะห์แล้วเห็นว่า:- คำสั่งได้กำหนดไม่ให้มีชื่อเรียกว่า พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการ พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ พนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิ พนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญ หรือพนักงานสอบสวนผู้เชี่ยวชาญพิเศษ อีกต่อไป และยกเลิกการประเมินเพื่อเลื่อนตำแหน่งของพนักงานสอบสวนแบบเดิม ส่วนผู้ที่ดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน จะได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ ถ้าหาก ก.ตร. กำหนดหรือตัดโอนตำแหน่ง และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติออกคำสั่งแต่งตั้งเสร็จแล้ว บรรดาบทบัญญัติต่าง ๆ ไม่มีการกล่าวถึงพนักงานสอบสวน ที่ดำรงตำแหน่งในระดับ ผู้กำกับการ รองผู้บังคับการ ผู้บังคับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวนต่อไป และไม่ได้รับเงินเพิ่มเป็นกรณีพิเศษเช่นเดียวกับรองสารวัตร สารวัตร และรองผู้กำกับการ ที่มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวนและอยู่ในสายงานสอบสวน ดังกล่าวข้างต้น
ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
http://www.matichon.co.th/news/62131
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)